ทำเนียบรุ่น วิชา DevOps and Cloud Engineering 101
ภาควิชาคอมพิวเตอร์
คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศิลปากร
รายชื่อนักศึกษา รุ่นที่ 1 (2/62)
นายณัฐดนัย ยังสติ
[email protected]
"ได้ฝึกใช้ Docker"
นายณัฐภัทร คูวิจิตรจารุ
[email protected]
"ได้ทั้งความรู้ Docker การออกเเบบระบบ Web Aplication แล้วก็ยังได้ทบทวน Linux Command Line และความรู้การใช้งาน Tool ต่างๆ ที่สามารถนำไปต่อยอดในอนาคตได้"
นายณัฐวัชร คูวิจิตรจารุ
[email protected]
"การใช้งานคำสั่ง Linux ทั่วๆ ไป การคอนฟิก/ใช้งาน Docker การใช้งาน Git"
นายปฏิวัติ คงรัมย์
[email protected]
"การใช้งาน Git, Microservices และเครื่องมือในการทำงานเกี่ยวกับ DevOps ต่างๆ"
นายณัฐพนธ์ สุจริตบรรณ
[email protected]
"ได้รู้การสร้าง Server ผ่าน Nipa Cloud สร้างการยืนยันตัวตนด้วยวิธี OTP"
นายภาณุวิชญ์ วงศ์ทองพิสุทธิ์
[email protected]
"ได้รับทักษะในการใช้ Git ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เรียนรู้และใช้งาน Docker เป็น และยังมีการสอนใช้งาน Docker Orchestration เช่น Docker Swarm และ Kubernetes อีกด้วย และอีกหัวข้อที่สำคัญคือการทำ CI/CD ที่ได้ลองทำจริงๆ ใน Workshop ของวิชานี้"
นางสาวหทัยภัทร ศรีจิตรแจ่ม
[email protected]
"1.การทำ CI/CD Pipeline ด้วย GitLab
2.Kubernetes Fundamental
3.การพัฒนา Web Application แบบ (เกือบจะ) Zero Downtime บน Swarm Cluster
4.การพัฒนาระบบ OTP (One Time Password) และ Session Server ด้วย Redis และ Flask สำหรับ Microservice
5.สร้าง API Gateway และระบบ Monitoring Microservice ด้วย Kong, Prometheus และ Grafana แบบง่ายๆ
6.การพัฒนา Microservice บน Docker Container
7.วิธีติดตั้ง LEMP Stack ด้วย Docker Container
8.Version Control and Git"
นายภาสกร บัวแก้ว
[email protected]
"ได้รู้หลักการทำงานของ DevOps มากขึ้น"
นายวรพล ทัศนเอกจิต
[email protected]
"ความรู้ต่างๆ จาก Dev และได้ฟังประสบการณ์จากผู้ทำงานจริง"
นายวิธวินท์ กุลธรรมโยธิน
[email protected]
"ได้รับความรู้เกี่ยวกับการใช้ Git/Version Control เช่น การ Push Pull หรือการเกิด Conflict เป็นต้น ได้รับความรู้เกี่ยวกับ Container Software เช่น Docker หรือแม้กระทั่งการใช้ Container Orchestrator เช่น Docker Swarm, Kubernetes ได้ความรู้ในการออกแบบ เช่น แนวคิดเมื่อต้องการออกแบบโครงสร้างต่าง ๆ การสร้าง Service การสร้าง Container มีการให้ข้อคิดหรือจุดสังเกตให้เห็นถึงความสำคัญบางอย่างของหน้าที่ DevOps Engineer หรือความแตกต่างของตำแหน่งงานและความสำคัญ ที่สำคัญได้รู้ว่าสายงานนี้เงินเยอะมาก =_="
นายศุภกฤต วัฒนยา
[email protected]
"ได้เรียนรู้การใช้ Docker, K8s และสิ่งต่างๆ ที่จำเป็นในวิชานี้"
นายกฤติน ช่างทอง
[email protected]
"ได้รู้จักขั้นตอนการทำ DevOps แบบละเอียดและสามารถพัฒนาได้ด้วยตนเอง"
นางสาวกันตพร เปรมปรีสุข
[email protected]
"ได้เรียนรู้ถึงรูปแบบของการทำงานแบบ DevOps ได้เรียนรู้การเขียนโปรแกรมภาษาอื่นๆ เพิ่มเติมจากเดิม"
นางสาวอริสรา คูประเสริฐ
[email protected]
"หลังจากที่ได้เรียน ทำให้เข้าใจมากขึ้นว่า DevOps คืออะไร และจากการเรียนในแต่ละสัปดาห์ทำให้เห็นมากขึ้นว่า DevOps ทำอะไร และเข้าใจว่า DevOps ช่วยให้การทำงานมีความรวดเร็วมากขึ้น การพัฒนา Software มีคุณภาพมากขึ้น ช่วยให้การทำงานร่วมกันของฝ่าย Development และ Operation ดีมากขึ้น"
นายธีริศรา ไกรทอง
[email protected]
"ได้รู้จักสายงานเพิ่มขึ้น ได้รับความรู้ใหม่ๆ และวิธีการพัฒนาระบบต่างๆ มากยิ่งขึ้นและได้ทำงานร่วมกับผู้อื่น"
นายธนดล ซุยนันท์
[email protected]
"ได้รู้สายงานของ DevOps เรียนรู้เรื่อง Docker และ Kubernetes"
นายพงศ์ปกรณ์ หนูเงิน
[email protected]
"การใช้งาน Linux และ Docker"
เนื้อหาเทอม 2/62
- Basic Linux Command
- แนวคิดและความเป็นมาของ Version Control
- Distributed Version Control System และ Git
- การใช้งาน Git เบื้องต้น
- การใช้งาน Git ร่วมกับ Jupyter Notebook
- การปรับแต่ง Git Commit
- แนวคิดของ Git Branch
- การจัดการ Git Branch เบื้องต้น
- แนวคิดของ Docker Container
- การสร้าง Image ด้วย Dockerfile การใช้ Docker-Compose และ Web Based GUI เพื่อจัดการกับ Container
- วิธีติดตั้ง LEMP Stack ด้วย Docker Container สำหรับผู้เริ่มต้น
- วิธีติดตั้ง VPS และ Let’s Encrypt ด้วย Docker Container แบบง่ายๆ
- การพัฒนา Microservice บน Docker Container สำหรับผู้เริ่มต้น
- สร้าง API Gateway และระบบ Monitoring Microservice ด้วย Kong, Prometheus และ Grafana แบบง่ายๆ
- การพัฒนาระบบ OTP และ Session Server ด้วย Redis และ Flask สำหรับ Microservice
- การพัฒนา Web Application แบบ (เกือบจะ) Zero Downtime บน Swarm Cluster
- Kubernetes Fundamental Workshop
- การทำ CI/CD Pipeline ด้วย GitLab Server ของตัวเอง สำหรับ DevOps Team
ขอขอบคุณ Nipa.Cloud ที่ให้การสนับสนุน Environment ในการเรียนการสอน
รายวิชา DevOps and Cloud Engineering 101
รายวิชา DevOps and Cloud Engineering 101